ครงการออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท
กลุ่มที่ 5 กลุ่ม Giveme5
การดำเนินงานตามกระบวนการ 3ส.
ส.1 สืบค้น (Research)
การออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์รวมชาสมุนไพร 3 ชนิด ชากระเจี๊ยบ อัญชัน ย่านาง
ชื่อ-สกุล ผู้ประกอบการ
|
กลุ่มทำสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านโรงวัว
|
ที่อยู่
|
107 หมู่ที่4 หมู่บ้านโรงวัว ตำบลเสือโฮก อำเภอเมืองจังหวัดชัยนาท รหัสไปรษณีย์ 17000
|
หมายเลขโทรศัพท์
|
089-6395797
|
e-mail/website
|
Wan_Zatis@hotmail.com
|
ผลิตภัณฑ์
|
ผลิตภัณฑ์ปัจจุบันของกลุ่มทำสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านโรงวัวที่ต้องการนำมาเข้าร่วมโครงการออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท คือสมุนไพรน้ำมันมะรุม
|
1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ประกอบการ
1.1 ชื่อผู้ประกอบการ : คุณวรรวลักษณ์ วงษ์คำภา
1.2 ตำแหน่งงาน : ประชาสัมพันธ์
1.3 ชื่อที่ระบุเป็นผู้ผลิต : กลุ่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านโรงวัว
1.4 ที่อยู่สถานที่ประกอบการ :หมู่บ้านโรงวัว ตำบลเสือโฮก อำเภอเมืองจังหวัดชัยนาท
2. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์
2.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : รวมชาสมุนไพร 3 ชนิด ชากระเจี๊ยบ อัญชัน ย่านาง
2.2 ประเภท : บริโภค
2.3 ส่วนประกอบ : ดอกกระเจี๊ยบ อัญชัน ย่านาง
2.4 ประโยขน์ : แก้ความดัน แก้ร้อนใน แก้กระหายน้ำ
2.5 คุณสมบัติ : ช่วยป้องกันการจับตัวของไขมันในเส้นเลือด
2.6 ผลิตโดย : กลุ่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านโรงวัว
2.7 ที่อยู่ : 107 หมู่ที่4 หมู่บ้านโรงวัว ตำบลเสือโฮก อำเภอเมืองจังหวัดชัยนาท
2.8 การจัดจำหน่าย : สวนนกชัยนาถ จัดจำหน่ายเอง
3. ตราสัญลักษณ์และมาตรฐานที่ได้รับ
ยังไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนอาหารและยา
ปัญหาที่ต้องการพัฒนา
จุดอ่อน : การผลิตค่อนข้างช้าเนื่องจากต้องใช้เวลาในการผลิตวัตถุติบ
จุดแข็ง : วัตถุดิบที่นำมาใช้มาสารถหาได้ในท้องถิ่น
อุปสรรค : ยังไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนอาหารและยา
ความต้องการของผู้ประกอบการ
ต้องการประหยัดต้นทุนของบรรจุภัณฑ์และอยากได้เป็นกล่องแพ็กเกจเพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์โดดเด่นและน่าสนใจมากขึ้น
ปัจจุบันสภาพ/ปัญหาที่เกิดขึ้น/ความต้องการพัฒนาสินค้า
ภาพที่1 ภาพที่อยู่ของผู้ประกอบการ
ที่มา : นางชนัดดา ช้างเยาว์, 2557
1.1 ปัจจุบันสภาพของบรรจุภัณฑ์เป็นซองสีเงินมีซิปล็อค
1.2 ปัจจุบันสภาพของฉลากในรูปแบบของการprint screen
ปัญหาที่เกิดขึ้น
1. คนรู้จักสินค้าน้อย
ความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์
1.ต้องการให้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ดูน่าสนใจและสะดุดตา
2.ต้องการให้สินค้าส่งออกนอกจังหวัด
3.ต้องการให้มีการลดต้นททุนบรรจุภัณฑ์
4.ต้องการให้มีกล่องแพ็กเกจ
ภาพที่2 ภาพคุณคุณวรรวลักษณ์ วงษ์คำภา กรรมการและประชาสัมพันธ์กลุ่มทำสมุนสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านโรงวัว
ที่มา : ชนัดดา ช้างเยาว์, 2557
ภาพที่3 ภาพสินค้าต่างๆของกลุ่ม
ที่มา : นางสาวชนัดดา ช้างเยาว์, 2557
ภาพที่4 การตากวัตถุดิบ
ที่มา : นางสาว ชนัดดา ช้างเยาว์, 2557
ภาพที่5 ภาพภายโรงเรือนที่ใช่อบวัตถุดิบ
ที่มา : นางสาว ชนัดดา ช้างเยาว์, 2557